วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

stop motion

ประวัติความเป็นมา
                Stop-motion เริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงปลายปี ค.ศ. 1800 มันถูกสร้างโดยใส่การเคลื่อนไหวเข้าไปในวัตถุที่เคลื่อนไหวไม่ได้ ลองมาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของ Stop-motion

              ในสมัยก่อน การทำ stop-motion ส่วนมากจะทำกับวัตถุที่เคลื่อนไหวเองไม่ได้ ต้องทำการถ่ายรูปแล้วก็ขยับวัตถุทีละน้อยแล้วก็ถ่ายรูปซ้ำไปซ้ำมา พอได้ภาพจำนวนหนึ่ง ก็จะนำมาเรียงต่อกันเพื่อทำเป็นหนัง stop-motion เรื่องสั้นเรื่องแรก คือ The Humpty Dumpty Circus สร้างโดย Albert Smith กับ Stuart Blackton ในปี 1899

               Emile Cohl
               Emile Cohl นักสร้างการตูนและผู้สร้างอนิเมชั่นชาวฝรั่งเศส เป็นคนนำ stop-motion เข้ามาสู่อเมริกา เขาใช้ ภาพวาด หุ่นจำลอง และอื่นๆที่เคลื่อนไหวไม่ได้ เท่าที่เขาจะหาได้ สำหรับทำ stop-motion แล้วหนัง stop-motion เรื่องแรกของเขา ชื่อว่า Fantasmagorie เขาสร้างมันเสร็จในปี 1908 ใช้ภาพวาดทั้งหมด 700 ภาพ แล้วถ่ายรูปขึ้นมาเพื่อนำมาทำเป็นอนิเมชั่น

               Willis O’Brien
               Willis O’Brien เป็นผู้สร้างเทคนิคพิเศษให้กับวงการภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่องแรกที่เขาร่วมสร้างคือ The Lost World ในปี 1925 ในภาพยนตร์มีบางช่วงที่เป็น stop-motion ซึ่งเขาเป็นคนทำมัน จากผลงานนี้ทำให้เขาได้ร่วมงานกับทีมสร้าง King Kong

ที่มา : http://www.lomography.co.th/magazine/128477-a-short-history-of-stop-motion-animation-thai

ความหมาย
          การถ่ายสต็อปโมชัน (อังกฤษ: stop motion) เป็นแอนิเมชันที่ผู้ทำแอนิเมชันต้องสร้างส่วนประกอบต่าง ๆ ของภาพขึ้นด้วยวิธีอื่น นอกเหนือจากการวาดบนแผ่นกระดาษ หรือแผ่นเซล และยังต้องยอมเมื่อยมือ ขยับรูปร่างท่าทางของส่วนประกอบเหล่านั้นทีละนิด ๆ แล้วใช้กล้องถ่ายไว้ทีละเฟรม ๆ

เทคนิค
          การถ่ายสต็อปโมชันมีเทคนิคทำได้หลากหลาย เช่น
          · เคลย์แอนิเมชัน (Clay animation เรียกย่อ ๆ ว่า เคลย์เมชัน / claymation) คือแอนิเมชันที่ใช้หุ่นซึ่งทำจากดินเหนียว ขี้ผึ้ง หรือวัสดุใกล้เคียง โดยใส่โครงลวดไว้ข้างในเพื่อให้ดัดท่าทางได้
          ·   คัตเอาต์แอนิเมชัน (Cutout animation) สมัยก่อนแอนิเมชันแบบนี้ทำโดยใช้วัสดุ 2 มิติ (เช่น กระดาษผ้า) ตัดเป็นรูปต่างๆ และนำมาขยับเพื่อถ่ายเก็บไว้ทีละเฟรม แต่ปัจจุบันใช้วิธีวาดหรือสแกนภาพเข้าไปขยับในคอมพิวเตอร์ได้เลย
          ·   กราฟิกแอนิเมชัน (Graphic animation) เป็นอีกเทคนิคที่น่าสนใจไม่เบา เกิดจากการนำกล้องมาถ่ายภาพนิ่งต่าง ๆ ที่เราเลือกไว้ (จะเป็นภาพจากนิตยสาร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ก็ได้) ทีละภาพ ทีละเฟรม แล้วนำมาตัดต่อเข้าด้วยกันเหมือนเทคนิคคอลลาจ (collage – ปะติด) โดยอาจใช้เทคนิคแแอนิเมชันแบบอื่นมาประกอบด้วยก็ได้
          ·   โมเดลแอนิเมชัน (Model animation) คือการทำตัวละครโมเดลขึ้นมาขยับ แล้วซ้อนภาพเข้ากับฉากที่มีคนแสดงจริงและฉากหลังเหมือนจริง
          · แอนิเมชันที่เล่นกับวัตถุอื่นๆ (Object animation) ไม่ว่าจะเป็นของเล่น หุ่น ตุ๊กตา ตัวต่อเลโก้ ฯลฯ อะไรก็ตามที่ไม่ใช่วัสดุซึ่งดัดแปลงรูปร่างหน้าตาได้แบบดินเหนียว
          ·   พิกซิลเลชัน (Pixilation) เป็นสต็อปโมชันที่ใช้คนจริง ๆ มาขยับท่าทางทีละนิดแล้วถ่ายไว้ทีละเฟรม เทคนิคนี้เหมาะมากถ้าเราทำแอนิเมชันที่มีหุ่นแสดงร่วมกับคน และอยากให้ทั้ง หุ่นทั้งคนดูเคลื่อนไหวคล้ายคลึงกัน หรือที่อยากได้อารมณ์กระตุกๆ

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/สตอปโมชัน

ขั้นตอน
          1. ถ่ายภาพทีละภาพ ทีละเฟรม โดยการขยับ หรือเคลื่นที่ทีละนิด และภาพเหล่านั้นต้องเรียงเลขและลำดับต่อเนื่องกัน
          2. นำภาพที่ได้ทั้งหมดมาตัดต่อลงในโปรแกรมตัดต่อภาพ และ
VDO

วิธีทำ
          เปิดโปรแกรม Coorel Video Studio Pro X5

1. Open Corel Video Studio Pro X5 Program and push Edit

2. Push the file button from your computer and upload the photos for make stop motion

3. Uploading the photos

4. Uploading to completed

5. Drag the photos this here VDO section

6. Click at the time for set the speed time player (I set speed time player at 0:08 second minute)

 7. Set the few minute time if you want fast speed player

Set the few minute time if you want fast speed player

8. Edit Text at T button and drag to the text section

9. Click on th text and Edit on the display VDO

10. Push on the file button and select the music from your computer supplementary with your stop motion (careful copyright music)

11. Drag the music to the music section (careful copyright music)

12. Drag the music left - right for balance with the photos

13. Click at 00:00 time or other times for play and check the VDO again befor to share VDO on the other web

14. Upload and share your VDO to the web

15. In this I select Youtube - Mpeg-4 HD

16. Put the VDO name for save on your computer (Original VDO)

17. Uploading original VDO for your computer

18. And now! log in Youtube and next

19. Click right at I Agree.... and Next

20. Put the VDO name for Youtube and other...and click Upload

21. Uploading VDO for Youtube

22. Uploading  completed and click Done button

23. Log in Youtube

24. Watch the VDO just upload

25. Click Share (กดที่ แบ่งปัน) and click embed (กดที่ ฝัง) for copy the embed code

26. Copy and paste the embed code above for your blog. The code changes based on your selection


ที่มา http://tidtee1974.blogspot.com/2012/08/how-to-make-stop-motion-stop-motion-vdo.html